ปัญหา #ขยะอวกาศ เป็นอีกหนึ่งปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมที่ต้องจับตามอง เพราะในช่วงหลายปีที่ผ่านมา หลายประเทศทั่วโลก มีการสร้างดาวเทียม และปล่อยจรวดขึ้นสู่อวกาศเป็นจำนวนมาก และเมื่อดาวเทียมหรือสถานีอวกาศหมดอายุการใช้งาน ก็จะกลายเป็นขยะที่ลอยค้างอยู่ในวงโคจรของโลก ซึ่งขยะอวกาศเหล่านี้ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และกิจกรรมของมนุษย์บนโลก รวมไปถึงการสร้างความเสียหายให้กับดาวเทียมหรือสถานีอวกาศที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน รายการ Sci เข้าหู โดยนิตยสารสาระวิทย์ สวทช. ได้รับเกียรติจาก คุณอนล ไพศาล กรรมการผู้จัดการ บริษัท เอมวัน (ประเทศไทย) จำกัด หนึ่งใน 10 สตาร์ทอัพด้านเทคโนโลยีอวกาศ จากโครงการ Space Economy: Lifting Off 2021 ด้วยผลงานดาวเทียม เอมวัน เทคโนโลยีควบคุมความเร็วการโคจรวัตถุในอวกาศ เพื่อลดปริมาณขยะจากอวกาศ มาเล่าถึงปัญหาขยะอวกาศและวิธีการจัดการ ติดตามรับฟัง Podcast รายการ Sci เข้าหู ได้ที่ 𝐘𝐨𝐮𝐓𝐮𝐛𝐞: https://youtu.be/j2Ad7bhSVzY 𝗣𝗼𝗱𝗯𝗲𝗮𝗻: https://bit.ly/3PWW9U9 𝗔𝗽𝗽𝗹𝗲 𝗣𝗼𝗱𝗰𝗮𝘀𝘁: https://apple.co/3PXxizM 𝗚𝗼𝗼𝗴𝗹𝗲 𝗣𝗼𝗱𝗰𝗮𝘀𝘁: https://bit.ly/3xtw4WF 𝗦𝗽𝗼𝘁𝗶𝗳𝘆: https://spoti.fi/3UbwMRg
On March 2nd, 2023 Thank you, The Business France Team, France embassy and France company participants Thank you, GISTDA and NIA, for asking our team to participate in this event. For the photo gallery, please visit this link: https://www.businessexpeditionspaceasean.com/gistda-chonburi-gallery
On January 26th last week, our team presented the concept of Alternative ADR Technology to encounter massive space debris transportation, recycling on-orbit service purposes and following the Net Zero debris trend to enhanced sustainability for space materialat 2023 SciTech by AIAA organization USA. I hope you will enjoy watching and let’s see how it works.…
Read more
Congrats to L. Sirapat and P. Anol for publishing their paper: L. Sirapat and P. Anol, “The electric potential and electric field on conducting space debris,”
Congrats to L. Sirapat, J. Phunika and P. Anol for publishing their paper: L. Sirapat, J. Phunika and P. Anol, “Touchless space debris mitigation and security,”
You must be logged in to post a comment.